ชื่อ - สกุล : อาจารย์ชลิดา ช่วยสุข
Name : Miss Chalida Chuaysook
อีเมล : dudsadee@npu.ac.th
ตำแหน่ง : -
สาขาวิชา / สาขาวิชาการท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมบริการ
โทรศัพท์ : 0-4253-2469
โทรสาร : 0-4253-2469
สถานที่ติดต่อ : ห้องพักอาจารย์ TS I208
คุณวุฒิการศึกษา
-ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยขอนแก่น
-ปริญญาตรี บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการจัดการธุรกิจบริการ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
งานสอน / ภาระงาน
ผู้รับผิดชอบรายวิชา
-
ความเชี่ยวชาญ
ผลงานวิจัย/ผลงานวิชาการ/ข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง :
บทความวิจัยตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติและนานาชาติ
ปีที่เผยแพร่
2562
ชื่อบทความ
รูปแบบการรักษาอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่สอดคล้องกับ การจัดการการท่องเที่ยวชุมชน : กรณีศึกษาชุมชนพิมาน อำเภอนาแก จังหวัดนครพนม
วารสาร
ภูพานสาสน์
อางอิง
พรหมภัสสร ชุณหบุญญทิพย์ และดุษฎี ช่วยสุข. (2562). รูปแบบการรักษาอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่สอดคล้องกับ การจัดการการท่องเที่ยวชุมชน : กรณีศึกษาชุมชนพิมาน อำเภอนาแก จังหวัดนครพนม. ภูพานสาสน์. 2(1). 61-83.
2563
A COMMUNITY BRANDING DEVELOPMENT FOR ETHNIC IDENTITY AND ECO-CULTURAL TOURISM IN NAKHON PHANOM PROVINCE, THAILAND.
AU-GSB e-JOURNAL
Chunhabunyatip, P., Chuaysook, D., & Aromrucks, S. (2020). A COMMUNITY BRANDING DEVELOPMENT FOR ETHNIC IDENTITY AND ECO-CULTURAL TOURISM IN NAKHON PHANOM PROVINCE, THAILAND. AU-GSB e-OURNAL, 13(1), 28-40.
2565
ศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงอาหารชุมชนอาจสามารถ จังหวัดนครพนม
วารสารการวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
จิราภรณ์ พรหมเทพ และดุษฎี ช่วยสุข. (2565). ศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงอาหารชุมชนอาจสามารถ จังหวัดนครพนม. การวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย, 17(59), 30-41.
2565
ศัักยภาพการท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุ กรณีศึกษา จังหวัดนครพนม (ออนไลน์)
วารสารวิจัยและพัฒนาอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
จิิราภรณ์ พรหมเทพ ดุษฎี ช่วยสุข และศรุกา วิสิฐนรภัทร. (2565). ศักยภาพการท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุ กรณีศึกษา จังหวัดนครพนม. วารสารวิจัยแลุะพัฒนาอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง (ออนไลน์), 1(2), 45-56.
บทความวิจัยที่นำเสนอในการประชุมวิชาการ (Conference/Abstract/Proceedings)
ปีที่เผยแพร่
2560
ชื่อบทความ
สถานที่จัดงานไมซ์ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
งานประชุมวิชาการ (Conference)
การประชุมวิชาการระดับชาติเครือข่ายความร่วมมือวิชาการและวิจัยด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 1
อางอิง
ดุษฎี ช่วยสุข. (2560). สถานที่จัดงานไมซ์ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ในการประชุมวิชาการระดับชาติเครือข่ายความร่วมมือวิชาการและวิจัยด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 1. 26 สิงหาคม 2560 (น.307– 317). สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
2564
แนวทางการจัดการการท่องเที่ยวเขตเทศบาลเมืองนครพนมเพื่อรองรับการกระจายนักท่องเที่ยวสู่เมืองรองในสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโควิด-19
การประชุมงานประชุมทางวิชาการระดับปริญญาตรี ด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ระดับชาติ ครั้งที่ 6
โชคอนันต์ คำปัน ณัฐริกา ประกิ่ง วนิดา พรหมพินิจ เสาวภา โสดาภักดิ ดุษฎี ช่วยสุข และพรหมภัสสร ชุนหบุญทิพย์. (2564). แนวทางการจัดการการท่องเที่ยวเขตเทศบาลเมืองนครพนมเพื่อรองรับการกระจายนักท่องเที่ยวสู่เมืองรองในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19. ในการประชุมงานประชุมทางวิชาการระดับปริญญาตรี ด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ระดับชาติ ครั้งที่ 6. 5 พฤศจิกายน 2564 (น.658-669). สงชลา : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่.
2564
แนวทางการจัดการการท่องเที่ยวเขตเทศบาลเมืองนครพนมเพื่อรองรับการกระจายนักท่องเที่ยวสู่เมืองรองในสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโควิด-19
การประชุมงานประชุมทางวิชาการระดับปริญญาตรี ด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ระดับชาติ ครั้งที่ 6
จักรกฤษณ์ สุทธิสา ชไมพร ตันสาย สาวิตรี ทองไพร ดุษฎี ช่วยสุข และพรหมภัสสร ชุนหบุญทิพย์. (2564). แนวทางการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชน กรณีศึกษา :ชุมชนตำบลท่าค้อ อำเภอเมือง จังหวัดนครพนม. ในการประชุมงานประชุมทางวิชาการระดับปริญญาตรี ด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ระดับชาติ ครั้งที่ 6. 5 พฤศจิกายน 2564 (น.670-681). สงชลา : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่.
งานวิจัยอื่นๆ : (ทุนวิจัยที่ได้รับ)
ปีงบประมาณ
2560
ชื่องานวิจัย/โครงการวิจัย
การส่งเสริมตลาดสินค้าเกษตรผ่านการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ เพื่อรองรับการเป็นเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษนครพนม
หัวหน้าโครงการวิจัย
อาจารย์อาทิตยาพร ประสานพานิช
ผู้ร่วมวิจัย
อาจารย์ดุษฎี ช่วยสุข อาจารย์จิราภรณ์ พรหมเทพ ผศ.ธนพัฒน์ สุระนรากุล
แหล่งทุน
สำนักงานวิจัยแห่งชาติ (วช.)
งบประมาณที่ได้รับ
250,000
2561
การพัฒนาแนวคิดระบบคราวด์ซอร์สซิ่ง บนฐานรูปแบบคลัสเตอร์ผู้ประกอบการไมซ์ขอนแก่น
ผศ.ดร.ดลฤทัย โกวรรธนะกุล
ดร. วิศิษฐศิริ ชูสกุล อาจารย์ดุษฎี ช่วยสุข
ทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน
1,444,262
2562
การพัฒนาธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุกลุ่มภาคตัวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2 (สกลนคร นครพนม มุกดาหาร)
ผ.ศ.ดร.ราตรี พระนคร
มหาวิทยาลัยราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร มหาวิทยาลัยนครพนม มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วิทยาเขตเฉลิมพระเกียตร สกลนคร วิทยาลัยชุมชน มุกดาหาร
เครือข่ายบริหารการวิจัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน มหาวิทยาลัยขอนแก่น
500,000
2563
ศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงอาหารชุมชนอาจสามารถ ตำบลอาจสามารถ อำเภอเมือง จังหวัดนครพนม
อาจารย์์จิราภรณ์ พรหมเทพ
อาจารย์์ดุษฎี ช่วยสุข
วิทยาลัยการท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมบริการ
30000
2564
ศักยภาพจังหวัดนครพนมกับการท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุภายใต้ความปกติใหม่
อาจารย์ดุษฎี ช่วยสุข
อาจารย์จิราภรณ์ พรหมเทพ อาจารย์ ดร.ศรุกา วิสิฐนรภัทร
กองทุนวิจัยและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยนครพนม
65,000
2565
การพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงสุภาพจากพืชสมุนไพรกัญชา จังหวัดนครพนม
อาจารย์์จิราภรณ์ พรหมเทพ
อาจารย์ดุษฎี ช่วยสุข อาจารย์ ดร.ศรุกา วิสิฐนรภัทร
กองทุนวิจัยและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยนครพนม
50,000
2566
รูปแบบการพัฒนาการท่องเที่ยวสำราญทางน้ำ 2 ฝั่งโขง เพื่อยกระดับศักยภาพการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวของประเทศไทย กรณีศึกษาจังหวัดนครพนม (โครงการเดี่ยว)
อาจารย์ชาลิดา ช่วยสุข
อาจารย์กฤษณะ ปินะพัง, อาจารย์ ดร. ชัยธวัช ศิริบวรพิทักษ์, อาจารย์วชิรญา ตติยนันทกุล, อาจารย์จิราภรณ์ พรหมเทพ, Chanhthanom Soukhaserm
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) (FF)
250,000
2566
การพัฒนารูปแบบและเพิ่มขีดความสามารถการใช้ดิจิทัลแพลตฟอร์มสำหรับชุมชนท่องเที่ยว เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยววิถีชีวิตลุ่มน้ำโขงของจังหวัดนครพนม (โครงการเดี่ยว)
อาจารย์์อัจฉริยา ทุมพานิชย์
นายวุฒิภัทร พงษ์เพชร, นายวรวิทย์ อุ่นจิตร, อาจารย์ดุษฎี ช่วยสุข, อาจารย์ ดร. ชัยธวัช ศิริบวรพิทักษ์
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) (FF)
250,000
2566
ปัจจัยและพฤติกรรมในการประยุกต์ใช้ดิจิทัลแพลตฟอร์มเพื่อส่งเสริมการตลาดออนไลน์ ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนท่องเที่ยวจังหวัดนครพนม
อาจารย์์อัจฉริยา ทุมพานิชย์
อาจารย์จิราภรณ์ พรหมเทพ, อาจารย์ชาลิดา ช่วยสุข
วิทยาลัยการท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมบริการ
10,000